กรุณารอสักครู่

 

บทความแนะนำ

ลีกัล คลินิก แอนด์ เอดดูเคชั่น

กฏหมายแรงงานนายจ้างผ่อนค่าชดเชยไม่ตรงตามนัด สามารถฟ้องได้ที่ศาลไหน

25 July 2021

มาเรียนรู้บทความ กฎหมายแรงงานภาษาอังกฤษไปด้วยกันนะคะกับหัวข้อที่ว่า ถ้านายจ้างผิดนัด การผ่อนจ่ายค่าชดเชยจะฟ้องที่ไหน

One of our fan pages asked that in the case where the employer’s business runs at loss and the employer terminates the employment contract by agreeing with the employee that the severance pay shall gradually pay by installments, is it complying with the law?

There was a problem that the employer failed to make payment after had made for two installments. The questions are Will the employer sue for the remaining amount as the employee is no longer the employee? and,

Which court will be filed between the labor court and the civil court?

Please see the answer as follows:

  1. Severance pay can be agreed to pay by installments and this agreement is not contrary to the law. In addition, such an agreement does not suspend the employee’s right to receive the severance pay by the law.
  2. In the event that the employee has not completely received the severance pay as required by Section 118 of the Labor Protection Act. The employee is still entitled to sue the employer in the labor court. (Supreme Court Judgment No.15780/2555)

———-แปล————-

มีแฟนเพจคนนึงถามคำถามเข้ามาว่า นายจ้างประสบปัญหาขาดทุน และ เลิกจ้างลูกจ้างโดยตกลงผ่อนจ่ายค่าชดเชยและลูกจ้างก็ยอมรับในข้อตกลงเรื่องการผ่อนจ่ายค่าชดเชยดังกล่าว

 

มีประเด็นปัญหาเกิดขึ้นมาว่านายจ้างผ่อนจ่ายได้แค่ 2 งวด นายจ้างก็หยุดผ่อนจ่ายเสียแล้ว ซึ่งตอนนี้ลูกจ้างก็ไม่ได้มีสภาพเป็นพนักงานแล้ว จึงเกิดความสงสัยว่าหากจะฟ้องร้องให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยจำนวนที่เหลือทั้งหมดจะฟ้องที่ศาลใดระหว่างศาลแรงงานกับศาลแพ่ง

คลินิกกฎหมายรายงานขอตอบดังนี้ค่ะ

  1. การตกลงผ่อนจ่ายค่าชดเชยสามารถกระทำได้เพราะไม่ได้เป็นข้อตกลงที่ขัดกับข้อกฎหมายแต่อย่างใด และไม่ได้เป็นการตกลงระงับสิทธิ์ของลูกจ้างไม่ให้ได้รับค่าชดเชย

 

  1. กรณีที่ลูกจ้างได้รับค่าชดเชย ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงานมาตรา 118 ไม่ครบถ้วน ตามที่กฎหมายกำหนดลูกจ้างสามารถใช้สิทธิ์ฟ้องได้ที่ศาลแรงงาน (ฏ.15780/2555)

————- 💙

ติดต่องานขอทราบค่าบริการ

✅คดีความ

✅ที่ปรึกษากฎหมาย

✅ร่างข้อบังคับและสัญญาทั้ง Thai/Eng

✅งานบรรยายกฎหมายแรงงาน PDPA

✅VISA & WORKPERMIT

สอบถามค่าบริการได้ทาง

Info@legalclinic.co.th

และสำหรับท่านใดที่เห็นว่าบทความนี้เป็นประโยชน์ สามารถแชร์ หรือนำไปอ้างอิงก็สามารถนำไปใช้ได้เลยนะคะ แต่ช่วยใส่ Link Page ต้นทางของคลินิกกฎหมายแรงงานให้ด้วยน้า